เป็นอีกหนึ่งบริษัทสายคริปโตเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) ที่ประกาศสถานะ ล้มละลาย อย่างเป็นทางการแล้ว กับ Celsius Network บริษัทกู้ยืมคริปโตรายใหญ่ในตลาดแห่งนี้ (15 ก.ค. 2565) ยังคงถือว่าเป็นขาลงของคริปโตเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) อย่างต่อเนื่อง ที่นอกเหนือจากมูลค่าที่ตกลงไปแล้วนั้น บริษัทที่ดำเนินการภายในตลาดแห่งนี้ก็ได้เริ่มปิดตัวหรือ ล้มละลาย กันไปเรื่อย ๆ โดยล่าสุดนี้ บริษัทกู้ยืมคริปโตรายใหญ่ – Celsius Network ได้ประกาศเข้าสู่สถานะดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
โดย Celsius ได้ทำการยื่นเอกสารสำหรับมาตราที่ 11
เพื่อคุ้มครองการล้มละลาย หลังจากที่เมื่อเดือนก่อนนั้นได้ยุติการทำธุรกรรมถอน และโอนเงิน ซึ่งในเวลานี้ทางบริษัทก็หวังที่จะประคองตัวเองไปจนกว่าศาลล้มละลายจะดำเนินการปรับปรุงโครงสร้างบริษัท ภายใต้วงเงิน 167 ล้านดอลลาร์
อ้างอิงจากเอกสารที่ Celsius Network ยื่นไปนั้น บริษัทมีสินทรัพย์อยู่ที่ระหว่าง 1 พัน – 10 พันล้านดอลลาร์ แต่ก็ติดค่าใช้จ่ายในจำนวนเดียวกัน โดยเมื่อปีที่ผ่านมา บริษัทถือว่ามีมูลค่าอยู่ที่ 3.25 พันล้านดอลลาร์ (อ้างอิงจาก Fortune) และสามารถเพิ่มมูลค่าไปได้อยู่ที่ 24 พันล้านดอลลาร์ ก่อนที่จะลดลงมาอยู่ที่ 12 พันล้านดอลลาร์ หลังจากปิดการทำธุรกรรม แต่ทั้งนี้แล้วนั้นก็คาดว่าจะลดลงไปมากกว่าที่มีการรายงานมา หลังจากที่ยื่นล้มละลายไป
ในส่วนของการยุติการทำธุรกรรมนั้น Celsius ได้ให้เหตุผลไว้ว่า เพื่อหลีกเลี่ยงการแห่ถอนเงิน (Bank run) ที่เป็นการแห่ถอนเงินออกจากบริษัทจนบริษัทไม่อยู่ในสถานะที่สามารถฟื้นฟู – หมุนเวียนได้ จนล้มละลายแบบฉลับพลัน นอกจาก Celsius Network แล้วนั้น Three Arrows ก็เป็นอีกบริษัทสายคริปโตเคอร์เรนซีที่ดำเนินการยื่นล้มละลายไปเมื่อต้นปีที่ผ่านมา
ซึ่งทาง ธ.ก.ส ได้รอให้ที่ประชุม ครม. ทำการอนุมัติงบประมาณเพิ่มเติมอย่างเป็นทางการก่อน แล้วจึงจะทำการทยอยจ่ายเงินให้แก่เกษตรกรโดยทันที
พิจารณาสินไหมเร่งด่วน (Fast Track) สำหรับลูกค้าที่ทำกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัยซึ่งคุ้มครองภัยธรรมชาติ รวมถึงกรณีน้ำท่วม หรือ ลมพายุ พิจารณาจ่ายค่าสินไหมให้กับลูกค้าที่เป็นผู้ประสบภัยทุกรายอย่างเร่งด่วนเป็นกรณีพิเศษ โดยผู้เอาประกันยื่นเอกสารแจ้งความเสียหาย จ่ายตามความ เสียหายจริงตามภาพถ่าย รวมทุกภัยธรรมชาติไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี และสำหรับลูกค้าที่มีกรมธรรม์เริ่มความคุ้มครองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เพิ่มความคุ้มครองภัยธรรมชาติตามความเสียหายจริงจากหลักฐานภาพถ่าย แต่ไม่เกินภัยละ 30,000 บาทต่อปี
GSB จับมือ Big C เปิดบริการ ‘ฝากเงิน’ เข้าบัญชีธนาคาร
ธนาคารออมสิน (GSB) ผนึกกำลัง Big C เปิดให้บริการ ฝากเงิน เข้าบัญชีธนาคารออมสินได้ เริ่มตั้งแต่วันที่ 14 กรกฎาคม 2565 เป็นต้นไป
(14 ก.ค. 2565) ธนาคารออมสิน (GSB) และบิ๊กซี (Big C) ได้ประกาศถึงการเปิดให้สามารถทำธุรกรรม ฝากเงิน เข้าบัญชีธนาคารออมสินได้ ผ่านเคาน์เตอร์ทุกสาขา ตั้งแต่เวลา 09.00-22.00 น. เริ่มให้บริการตั้งแต่วันที่ 14 กรกฎาคม 2565 เป็นต้นไป
นายสราวุธ ณ นคร รองผู้อำนวยการธนาคารออมสิน (GSB) กลุ่มดิจิทัลแบงก์กิ้ง และ ดร.ปิยะวรรณ ปิยะพงษ์ รองประธานเจ้าหน้าที่สายบริการธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ร่วมเปิดบริการรับฝากเงินเข้าบัญชีธนาคารออมสิน แบบ Online Real-Time ผ่านเคาน์เตอร์ Big C ทุกสาขา เพื่ออำนวยความสะดวกให้ลูกค้าธนาคารออมสินที่มีบัญชีเงินฝากประเภทเผื่อเรียกสามารถฝากเงินเข้าบัญชีโดยไม่ต้องเดินทางไปสาขาของธนาคาร และยังเป็นการส่งเสริมการออมให้คนไทยอีกด้วย โดยเฉพาะการฝากเงินเข้าบัญชีของเด็กและเยาวชนที่มีอายุ 7-20 ปี mujจะได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมในการใช้บริการ
โดยผู้ที่มีความต้องการฝากเงิน สามารถดำเนินการได้ทุกวันตั้งแต่เวลา 09.00-22.00 น. ยอดเงินฝากสูงสุด 20,000 บาท ต่อคนต่อวัน นอกจากนี้ผู้ที่ใช้บริการฝากเงินยังได้รับส่วนลดในการช้อปอีก 15 บาทด้วย เริ่มตั้งแต่วันที่ 14 กรกฎาคม 2565 เป็นต้นไป
โดยมีการยื่นข้อเรียกร้อง 192 แห่ง ลูกจ้างที่เกี่ยวข้อง 134,964 คน ยุติแล้ว 35 แห่ง จังหวัดระยองยื่นข้อเรียกร้องมากที่สุดถึง 58 แห่ง ลูกจ้างเกี่ยวข้อง 40,842 คน รองลงมาคือจังหวัดชลบุรี 53 แห่ง ลูกจ้างเกี่ยวข้อง 27,303 คน มีข้อพิพาทแรงงานเกิดขึ้น 20 แห่ง ลูกจ้างเกี่ยวข้อง 9,722 คน ยุติแล้ว 10 แห่ง และเมื่อแยกเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดที่เกิดเป็นข้อพิพาทแรงงานมากที่สุดคือจังหวัดระยอง รองลงมาคือ กรุงเทพฯ และชลบุรี มีลูกจ้างเกี่ยวข้อง 2,825 คน 1,592 คน และ 1,715 คน ตามลำดับ สำหรับข้อขัดแย้งมีจำนวน 13 แห่ง ลูกจ้างเกี่ยวข้อง 10,374 คน ยุติแล้ว 12 แห่ง ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในจังหวัดฉะเชิงเทรา ปทุมธานี และสระบุรี ทั้งนี้ มีการจดทะเบียนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง ทั้งหมด 45 แห่ง ลูกจ้างได้รับสิทธิประโยชน์เป็นเงินจำนวน 2,481.35 ล้านบาท.
สินเชื่อฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับเกษตรกรลูกค้าผู้ประสบภัยธรรมชาติหรือภัยพิบัติ วงเงิน 5,000 ล้านบาท ตามความจำเป็นแต่ไม่เกินรายละ 500,000 บาท คิดอัตราดอกเบี้ย MRR-2 (ปัจจุบัน MRR เท่ากับร้อยละ 6.50 ต่อปี) กำหนดชำระคืนไม่เกิน 15 ปี ทั้งนี้เพื่อให้เกษตรกรนำไปใช้เป็นค่าลงทุนในการสร้างหรือซ่อมแซมที่อยู่อาศัยที่ได้รับความเสียหาย หรือลงทุนซ่อมแซมโรงเรือนการเกษตร เครื่องมือ เครื่องจักรกลการเกษตรหรือฟื้นฟูการประกอบอาชีพการเกษตรที่ได้รับความเสียหาย
โดยวงเงินกู้ 1-20 ล้านบาท หากทำประกันชีวิตเพื่อประกันสินเชื่อ คิดอัตราดอกเบี้ยพิเศษปีที่ 1 = 3.99% ปีที่ 2 = 4.99%
Credit : ที่เที่ยวญี่ปุ่น | จัดอันดับต่างๆ | รีวิวของแบรนเนม | วิธีการลงทุนต่าง